ขั้นตอนที่3


ลงในน้ำยาฟอกนานประมาณ  12  ชั่วโมง นำเยื่อไปล้างน้ำจนหมดกลิ่นน้ำยาแล้ว  จะนำเยื่อไปย้อมสีตามต้องการ  จากนั้นนำเยื่อเตรียมไว้สำหรับทำแผ่นกระดาษต่อไป
5.jpg2.jpg4.jpg



การทำกระดาษสา2.jpgการทำกระดาษสา4.jpgขั้นตอนที่  3  การทำเป็นแผ่นกระดาษ
          นำเยื่อปอสาใส่ในอ่างหรือภาชนะที่เหมาะสม  ใส่น้ำให้มีระดับพอเหมาะแล้วใช้ไม้พายคนเยื่อในอ่างน้ำให้ทั่ว  เพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายออกจากกันอย่างสม่ำเสมอ จากนั้นนำแม่พิมพ์สำหรับทำแผ่นกระดาษมาช้อนเยื่อต่อไปซึ่งมีการทำแผ่นได้  2  วิธีคือ
          3.1       แบบตัก  ใช้แม่พิมพ์ซึ่งมีลักษณะเป็นตะแกรงไนล่อนขนาดกว้าง  50  ซม.  ยาว  60 ซม.  ( ขนาดตะแกรงขึ้นอยู่กับขนาดกระดาษที่ต้องการ )  ช้อนตักเยื่อเข้าหาตัวยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ แล้วเทน้ำออกไปทางด้านหน้าโดยเร็ว  จะช่วยให้กระดาษมีความสม่ำเสมอ 
          3.2       แบบแตะ มักใช้ตะแกรงที่ทำจากผ้าใยบัวหรือผ้ามุ้ง  ซึ่งมีเนื้อละเอียดและใช้วิธีชั่งน้ำหนักของเยื่อ  เป็นตัวกำหนดความหนาของแผ่นกระดาษ  นำเยื่อใส่ในอ่างน้ำใช้มือแตะเกลี่ยกระจายเยื่อบนแม่พิมพ์ให้สม่ำเสมอ






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น